สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 24 เมษายน 2563 ในจังหวัดสงขลา

สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 24 เมษายน 2563 ในจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 24 เมษายน 2563 ในจังหวัดสงขลา

สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 24 เมษายน 2563 ในจังหวัดสงขลา

วันที่ 24 เมษายน 2563  จากมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้โรค Covid-19 เป็นโรคติดต่ออันตรายเพื่อให้สามารถใช้ข้อกำหนดตาม พ.ร.บ ดังกล่าวในการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค สามารถควบคุมโรคได้มีประสิทธิภาพลดลงจากผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมอำนวยความสะดวกกับเจ้าหน้าที่ในการค้นหาผู้ป่วยสอบสวนและควบคุมโรคได้เร็ว คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา (จากข้อมูล ณ วันที่ 24 เมษายน 2563 เวลา 12.00 น.) มีรายงานสถานการณ์โรค Covid-19 ดังนี้มีผู้ป่วยเข้าเกณฑ์เฝ้าระวังโรค (สะสม) 939 ราย

  • ส่งตรวจไม่พบเชื้อ 806 ราย
  • รอผลตรวจยืนยันรอบที่สองจากส่วนกลาง 89 ราย
  • มีผู้ป่วยยืนยันจำนวน 39 ราย
  • เป็นคนจังหวัดสงขลา 39 ราย
  • คนจังหวัดอื่น 5 ราย
  • รักษา 11 ราย
  • หายแล้ว 31 ราย
  • กลุ่มดาวะห์จากอินโดนีเซียเป็นผู้ป่วยยืนยัน 19 ราย (กักตัวที่โรงพยาบาลนาหม่อม)
สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 24 เมษายน 2563 ในจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วันที่ 24 เมษายน 2563 ในจังหวัดสงขลา

HATYAITODAYNEWS

อ้างอิง: ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา

ทั้งนี้ท่านสามารถติดตามรายงาน สถานการณ์โควิด-19 ได้ในแบบเรียลไทม์

Next Post

เด็กวัยไหนควรใส่หน้ากากอนามัย ในช่วงโควิด-19

Fri Apr 24 , 2020
เด็กวัยไหนควรใส่หน้ากากอนามัย ในช่วงโควิด-19 แพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 นอกจากกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดแล้ว ทารกแรกเกิดและเด็กเล็ก ถือเป็นอีกกลุ่มเสี่ยงที่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันเป็นพิเศษ โดยเฉพาะพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงเด็ก ควรสร้างสุขอนามัยที่ดีด้วยการล้างมือด้วยสบู่และน้ำ หรือเจลแอลกอฮอล์ก่อนสัมผัสทารก และสวมหน้ากากเสมอ หากผู้เลี้ยงเด็กมีอาการไม่สบาย โดยเฉพาะมีอาการทางระบบหายใจ มีไข้ ไอ จาม งดเข้าใกล้ทารกเด็ดขาด สิ่งสำคัญ คือ ไม่ควรนำทารกแรกเกิดออกนอกบ้าน ยกเว้นการพาไปฉีดวัคซีนตามกำหนด หรือไปพบแพทย์เมื่อมีอาการป่วยโดยแนะนำให้อุ้มแนบกับอก หรือนำเด็กใส่รถเข็นที่มีผ้าคลุมปิด เว้นระยะห่างจากผู้อื่นในระยะ 2 เมตร อย่างเคร่งครัด และให้งดการหอมแก้มเด็กและใกล้ชิดเด็กมากเกินไป แน่นอนว่าควรเลือกสวมหน้ากากป้องกันให้กับเด็กที่เหมาะสมตามช่วงอายุ เมื่อจำเป็นต้องออกนอกบ้าน ดังนี้ 1. เด็กทารกแรกเกิด-1 ปี พ่อแม่ไม่ควรสวมหน้ากากให้ เพราะเด็กเล็กระบบการหายใจยังไม่แข็งแรงพอ เสี่ยงภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่งได้ เนื่องจากทารกแรกเกิดหายใจทางจมูกเป็นหลัก ยังไม่มีความสามารถในการหายใจชดเชยด้วยการอ้าปากหายใจได้ เมื่อมีการขาดอากาศ หรือออกซิเจนจะมีโอกาสเกิดการสะสมของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดอันตรายต่อระบบประสาทของทารกได้ และในกรณีการใช้วัสดุพลาสติกบังหน้าทารก ความคมของพลาสติกอาจทำให้บาดใบหน้า และดวงตาของทารกได้ 2. เด็กอายุ 1-2 ปี เด็กบางคนสามารถถอดหน้ากากเองได้เมื่อรู้สึกอึดอัด […]
ปกข่าวสำหรับเว็ป [recovered] 01