งดงาม !! ประเพณีลากพระทางน้ำ จ.สงขลา ศิลปะบนเรือพระสุดปราณีตนับเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

งดงาม !! ประเพณีลากพระทางน้ำ จ.สงขลา ศิลปะบนเรือพระสุดปราณีตนับเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

วันที่ 3 ต.ค. 63 บริเวณลุ่มน้ำทะเลสาบ จ.สงขลา ได้มีประเพณีลากพระทางน้ำและเล่นเพลงเรือแหลมโพธิ์ อันเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม โดยวัดที่มีการลากพระทางน้ำ เช่น วัดคูเต่า ท่านางหอม วัดหาดใหญ่ใน สำนักสงฆ์แหลงโพธิ์ และวัดท่าเมธุ โดยบรรยากาศเต็มไปด้วยความสนุกสนาม และมีชาวบ้านในพื้นที่ยืนรอชมความงดงามของเรือพระในแต่ละวัด

โดยชักพระเป็นพิธีบุญอย่างหนึ่งของชาวจังหวัดภาคใต้หรือชาวปักษ์ใต้ที่กระทำสืบต่อกันมาตั้งแต่โบราณกาล จนกระทั่งปัจจุบันนี้ มีหลายจังหวัดในภาคใต้ที่มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ ที่เคยได้ยินข่าวการจัดงานได้แก่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี เป็นต้น ถือว่า ประเพณีนี้มีความสำคัญและยิ่งใหญ่กว่าหลายๆ ประเพณี ที่จัดขึ้นในจังหวัด โดยเฉพาะที่อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จะมีชักพระบกและพระน้ำ กำหนดการชักพระ คือ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปีเป็นวันที่พระสงฆ์ ออกพรรษา หรือที่เรียกว่า วันปวารณา ซึ่งก่อนการชักพระ ๑๐-๑๕ วัน ชาวบ้านและชาววัดจะช่วยกันจัดเตรียมทำเรือพระสำหรับที่จะลากกันอย่างหรูหรา ข้างบนทำเป็นบุษบกสำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป ในช่วงเวลาก่อนถึงวันชักพระนี้จะมีการ คุมโพน หรือ คุมพระ คือการประโคม ฆ้อง กลอง ตะโพน เพื่อเป็นการซ้อมหรืออุ่นเครื่อง และเป็นการสร้างบรรยากาศอันคึกคักให้ชาวบ้านได้เตรียมตัวสำหรับกาลอันสำคัญนี้

ชักพระเป็นพิธีบุญอย่างหนึ่งของชาวจังหวัดภาคใต้หรือชาวปักษ์ใต้ที่กระทำสืบต่อกันมาตั้งแต่โบราณกาล จนกระทั่งปัจจุบันนี้ มีหลายจังหวัดในภาคใต้ที่มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ ที่เคยได้ยินข่าวการจัดงานได้แก่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี เป็นต้น ถือว่า ประเพณีนี้มีความสำคัญและยิ่งใหญ่กว่าหลายๆ ประเพณี ที่จัดขึ้นในจังหวัด โดยเฉพาะที่อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จะมีชักพระบกและพระน้ำ กำหนดการชักพระ คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ของทุกปีเป็นวันที่พระสงฆ์ ออกพรรษา หรือที่เรียกว่า "วันปวารณา"  ก่อนการชักพระ ๑๐-๑๕ วัน ชาวบ้านและชาววัดจะช่วยกันจัดเตรียมทำเรือพระสำหรับที่จะลากกันอย่างหรูหรา ข้างบนทำเป็นบุษบกสำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป ในช่วงเวลาก่อนถึงวันชักพระนี้จะมีการ "คุมโพน" หรือ "คุมพระ" คือการประโคม ฆ้อง กลอง ตะโพน เพื่อเป็นการซ้อมหรืออุ่นเครื่อง และเป็นการสร้างบรรยากาศอันคึกคักให้ชาวบ้านได้เตรียมตัวสำหรับกาลอันสำคัญนี้

ชักพระเป็นพิธีบุญอย่างหนึ่งของชาวจังหวัดภาคใต้หรือชาวปักษ์ใต้ที่กระทำสืบต่อกันมาตั้งแต่โบราณกาล จนกระทั่งปัจจุบันนี้ มีหลายจังหวัดในภาคใต้ที่มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ ที่เคยได้ยินข่าวการจัดงานได้แก่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี เป็นต้น ถือว่า ประเพณีนี้มีความสำคัญและยิ่งใหญ่กว่าหลายๆ ประเพณี ที่จัดขึ้นในจังหวัด โดยเฉพาะที่อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จะมีชักพระบกและพระน้ำ กำหนดการชักพระ คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ของทุกปีเป็นวันที่พระสงฆ์ ออกพรรษา หรือที่เรียกว่า "วันปวารณา"  ก่อนการชักพระ ๑๐-๑๕ วัน ชาวบ้านและชาววัดจะช่วยกันจัดเตรียมทำเรือพระสำหรับที่จะลากกันอย่างหรูหรา ข้างบนทำเป็นบุษบกสำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป ในช่วงเวลาก่อนถึงวันชักพระนี้จะมีการ "คุมโพน" หรือ "คุมพระ" คือการประโคม ฆ้อง กลอง ตะโพน เพื่อเป็นการซ้อมหรืออุ่นเครื่อง และเป็นการสร้างบรรยากาศอันคึกคักให้ชาวบ้านได้เตรียมตัวสำหรับกาลอันสำคัญนี้
HATYAITODAYNEWS

อ้างอิง : กลุ่มลากพระทางน้ำสงขลา

Next Post

สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 4 ตุลาคม 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 2 ราย เข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine)

Sun Oct 4 , 2020
สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 2 ตุลาคม 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 6 ราย เข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine) วันที่ 4 ตุลาคม 2563 เวลา 11.00 ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) หรือศบค.ได้เสนอข้อมูลสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทย ซึ่งในวันนี้พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 2 ราย เป็นผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศเข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine) สำหรับรายละเอียดของผู้ป่วยรายใหม่ 2 ราย มีดังนี เป็นคนไทย ทั้ง 2 ราย ทั้งหมดเดินทางมาจากต่างประเทศ จาก สหราชอาณาจักร 1 ราย แอฟริกาใต้ 1 รายเข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine)         […]
เดินทางมาจากต่างประเทศ