ราชกิจจาฯ ประกาศลดพื้นที่สีแดงเข้มเหลือ 6 จังหวัด-ยืดเคอร์ฟิวถึง 30 พ.ย. 64

ราชกิจจาฯ ประกาศลดพื้นที่สีแดงเข้มเหลือ 6 จังหวัด-ยืดเคอร์ฟิวถึง 30 พ.ย. 64

ราชกิจจานุเบกษาต่อไปเพื่อให้มีผลบังคับใช้วันที่ 16 พ.ย. 64 เป็นต้นไปแต่ระหว่างที่ยังไม่มีการประกาศลงในกิจจานุเบกษา ยังคงใช้มาตรการตามที่ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 30 ต.ค. 64  ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๗) ซึ่งระบุมติศบค. อย่างเป็นทางการเพื่อมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับพื้นที่สีแดงเข้มและประกาศเคอร์ฟิวดังนี้ 

  • พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ห้ามการจัดกิจกรรมซึ่งมีการรวมกลุ่มของบุคคล ที่มีจํานวนรวมกันมากกว่า 50 คน
  • การห้ามออกนอกเคหสถานสําหรับพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ห้ามบุคคลใด ในเขตพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดงดออกนอกเคหสถานระหว่างเวลา 23.00 ถึง 03.00น. ของวันรุ่งขึ้น โดยใช้บังคับต่อเนื่องไปสําหรับพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดทุกจังหวัด เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 15 วัน จนถึงวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
  • และให้การกําหนด เงื่อนไขการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่และกรณีของบุคคลที่ได้รับยกเว้นที่ได้ประกาศหรือ ได้อนุญาตไว้ก่อนหน้านี้ยังคงใช้บังคับต่อไป

เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนด การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 38) โดยมีรายละเอียดดังนี้

254037662 2076207202526315 6038159657672767459 N
พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดเหลือ 6 จังหวัด (สีแดงเข้ม)

ได้แก่ ตาก นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และสงขลา

พื้นที่ควบคุมสูงสุด 39 จังหวัด (สีแดง)

ได้แก่ กาญจนบุรี ขอนแก่น ชลบุรี ชุมพร เชียงราย เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ตรัง ตราด นครปฐม นครนายก นครราชสีมา นครสวรรค์ นนทบุรี ปทุมธานี ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา พัทลุง พิจิตร พิษณุโลก เพชรบุรี เพชรบูรณ์ ระนอง ระยอง ราชบุรี ลพบุรี สตูล สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สระแก้ว สุพรรณบุรี สุราษฎ์ธานี อ่างทอง อุดรธานี อุบลราชธานี และจันทบุรี

0001 2 Scaled 1
พื้นที่ควบคุม 23 จังหวัด (สีส้ม)

ได้แก่ กาฬสินธุ์ กำแพงเพชร ชัยนาท ชัยภูมิ บุรีรัมย์ พะเยา แพร่ มหาสารคาม แม่ฮ่องสอน ยโสธร ร้อยเอ็ด ลำปาง ลำพูน เลย สิงห์บุรี สุโขทัย สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อุตรดิตถ์ อุทัยธานี อำนาจเจริญ และศรีสะเกษ

พื้นที่เฝ้าระวังสูง 5 จังหวัด (สีเหลือง)

ได้แก่ นครพนม น่าน บึงกาฬ มุกดาหาร สกลนคร

พื้นที่นำร่องการท่องเที่ยว 4 จังหวัด (สีฟ้า)

ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร กระบี่ พังงา ภูเก็ต (จังหวัดอื่นดำเนินการบางพื้นที่)

0002 1 Scaled 1

อ้างอิง : เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา

Next Post

โครงการสะพานข้ามทะเลสาบสงขลา-เชื่อมพัทลุง ผ่าน EIA แล้วเริ่มก่อสร้างได้ในปีงบประมาณ 2566 – 2568

Mon Nov 15 , 2021
โครงการสะพานข้ามทะเลสาบสงขลา-เชื่อมพัทลุง ผ่าน EIA แล้วเริ่มก่อสร้างได้ในปีงบประมาณ 2566 – 2568 วันที่ 15 พ.ย. 64  นายอภิรัฐ ไชยวงศ์น้อย อธิบดีกรมทางหลวงชนบท รายงานถึงความคืบหน้าของโครงการก่อสร้างสะพานข้ามทะเลสาบสงขลา ว่า โครงการได้ผ่านการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือ EIA แล้ว และ สามารถดำเนินการก่อสร้างได้ตามแผนงานในปีงบประมาณ 2566 – 2568 สำหรับสะพานข้ามทะเลสาบสงขลาแห่งนี้ มีจุดเริ่มต้นโครงการ จากถนนทางหลวงชนบทสาย พท.4004 กม.ที่ 3+300 บริเวณ หมู่ 1 บ้านแหลมจองถนน ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง แนวสะพานข้ามทะเลสาบสงขลา เชื่อมต่อกับจุดสิ้นสุดโครงการ ที่แยกตัดกับถนนองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ถนนรอบเกาะใหญ่ บริเวณ หมู่ 2 บ้านแหลมยาง ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รวมระยะทางประมาณ 7 กม. ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวม 4,500 ล้านบาท  โดยในปี 2566 งบประมาณ 900 ล้านบาท ปี 2567 และ ปี 2568 งบประมาณปีละ 1,800 ล้านบาท โดยรูปแบบของสะพาน กำหนดเป็นสะพานขนาด 2 ช่องจราจร ทิศทางละ 1 ช่องจราจร พร้อมไหล่ทาง และมีจุดจอดรถ ในกรณีฉุกเฉินบนสะพาน โครงสร้าง แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ โครงสร้างสะพานช่วงกลางทะเลสาบสงขลา จะเป็นรูปแบบสะพานคานขึง มีความยาวระหว่างตอม่อ 140 เมตร ความสูงช่องลอด 18 เมตร เพื่อเตรียมสำหรับให้กรมเจ้าท่าขุดลอกทะเลสาบสงขลา ส่วน สะพานช่วงต่อเชื่อม จะใช้โครงสร้างรูปกล่องหล่อสำเร็จ มีความยาวระหว่างตอม่อ 40 เมตร ซึ่งสะพานแห่งนี้ นอกจากจะเพิ่มความสะดวกในการเดินทางระหว่างสองฝั่งทะเลสาบสงขลาแล้ว ยังสามารถส่งเสริมการท่องเที่ยว ตามนโยบายกระทรวงคมนาคม ด้วยการออกแบบสะพานให้มีอัตลักษณ์ วัฒนธรรมท้องถิ่น โดยเสาสะพาน หรือเสา PyIon ช่วงกลางสะพาน ออกแบบให้สื่อถึงท่ารำของมโนราห์ เป็นมือที่อ่อนช้อย สวยงาม ส่วนบริเวณเชิงลาดสะพาน จะมีประติมากรรมมโนราห์ ซึ่งเป็นศิลปะวัฒนธรรมในพื้นที่ทั้ง 2 ฝั่ง ทำให้สะพานแห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่สำคัญในพื้นที่ในอนาคต ในขณะที่ วิธีการก่อสร้างสะพาน โดยสะพานช่วงหลัก จะก่อสร้างสะพานลำเลียงและแท่นทำงานชั่วคราว ความยาวประมาณ 350 เมตร เพื่อลดผลกระทบต่อทะเลสาบสงขลา ส่วนการขนส่งวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร และคนงานก่อสร้าง ไปยังบริเวณที่ก่อสร้างสะพานหลัก จะใช้เรือลำเลียงขนส่ง ทำให้ไม่ต้องก่อสร้างสะพานลำเลียงจากฝั่งที่จะมีความยาวมากเกินไป ขณะที่นายกู้เกียรติ วงศ์กระพันธุ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง ระบุว่า หากสะพานข้ามทะเลสาบสงขลาแล้วเสร็จ จะสามารถลดระยะเวลาการเดินทาง จากประมาณ 2 ชั่วโมง เหลือเพียงแค่ 15-20 นาที และ ร่นระยะทางการเดินทางจากประมาณ 90 กิโลเมตร เหลือ ประมาณ 7 กิโลเมตรเท่านั้น พร้อมทั้งช่วยบรรเทาปริมาณการจราจรของถนนสายหลัก รวมทั้งจะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวให้กับพื้นที่โดยรอบทะเลสาบสงขลา ที่มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และประวัติศาสตร์ โบราณคดี ทำให้เศรษฐกิจของชุมชนเข้มแข็งมีรายได้จากการท่องเที่ยวมากขึ้น อ้างอิง : กรมทางหลวงชนบท , สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดพัทลุง Facebook iconFacebookTwitter iconTwitterLINE iconLine
ปกข่าว 01

bonus new member

https://gamesforcities.com/olympus1000/

gates of olympus 1000

starlight princess 1000

slot thailand

slot wild west gold slot

slot sugar rush

scater hitam mahjong

demo starlight princes 1000

slot qris

mahjong wins slot

https://bakkerdejager.nl/wp-content/joker123/

https://bakkerdejager.nl/wp-content/joker123/

lucky neko slot

koi gate slot

gates of gatot kaca slot

aztec gems slot

wild bounty showdown slot

olympus 1000

joker123 login

slot joker123

joker123

https://gamesforcities.com/candy-blitz/

https://gamesforcities.com/joker123/

sweet bonanza

https://gamesforcities.com/slot-deposit-10-ribu/

https://bergeijk-centraal.nl/wp-content/sweet-bonanza/

https://bergeijk-centraal.nl/wp-content/spaceman-slot/

https://infinitecor.com/wp-content/spaceman-slot/

https://misionformarte.com/slot-deposit-10-ribu/

https://xn--l3cbf5b8bb8a2iwa0d4b.com/wp-content/slot-deposit-10-ribu/

kakek zeus

slot gacor 88

https://dtorjaimag.com/

bandito slot

https://longhursthealth.co.nz/

spaceman slot

https://punjabconstabulary.gov.pk/

https://www.norenkai.net/