ชายหาดชลาทัศน์จังหวัดสงขลา เกิดปรากฎการณ์ชายหาดเเข็งตัดชันเป็นหน้าผา
บริเวณชายหาดชลาทัศน์-หาดสมิหลาสงขลา จากบ้านเก้าเส้ง ถึงบริเวณหน้าสนามมวย ฐานทัพเรือสงขลา ถนนชลาทัศน์ ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการเสริมทรายชายหาดขึ้นมา และขณะนี้ถูกคลื่นกัดเซาะชายฝั่งเข้ามา เนื่องจากในช่วงนี้ ทางภาคใต้ฝั่งตะวันออกเริ่มเข้าสู่ช่วงฤดูมรสุมลมตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว และจะเริ่มมีคลื่นลมแรงพัดเข้าหาฝั่งอย่างต่อเนื่อง
โดยที่ผ่านมามีความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นแผ่ลงมาปกคลุมตอนบนของประเทศไทย ส่งผลทำให้ ทางภาคใต้อ่าวไทยฝั่งตะวันออก จะมีคลื่นลมแรงพัดเช้าหาฝั่ง คลื่นกัดเซาะชายฝั่งเข้ามา และกัดเซาะชายฝั่งพัดดินทราย ที่ได้มีการถมชายหาดออกไปลงสู่ทะเล จึงทำให้ชายหาดชลาทัศน์บริเวณนี้อยู่ในสภาพที่ไม่เหลือร่องรอยความสวยงามให้ได้เห็นและชื่นชม
โดยมาตรการและแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้กำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งไว้ 4 แนวทาง
1. การปรับสมดุลชายฝั่งโดยธรรมชาติ (Coastal equilibrium by natural processes) คือ การคงไว้ซึ่งสภาวะสมดุลพลวัติหรือกระบวนการชายฝั่งตามธรรมชาติ เพื่อปล่อยให้ชายฝั่งที่เกิดการกัดเชาะได้ มีการปรับสมดุลและฟื้นคืนสภาพรรมชาติด้วยตนเอง โดยการออกมาตรกรรักษาความสมบูรณ์ของสภาพ ธรรมชาติชายฝั่งและกำหนดไม่ให้มีกิจกรรมของมนุษย์ที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องหรือรบกวนเสถียรภาพของชายฝั่ง
ชน การไม่ดำเนินการใด ๆ เพื่อปล่อยให้ชายฝั่งที่เกิการกัดเชาะได้มีการปรับเข้าสู่สมดุลตามธรรมชาติ การกำหนดพื้นที่ถอยร่น พื่อป้องกันผลกระทบจากการกัดเชาะชายฝั่งที่จะมีต่อมนุษย์ เศรษฐกิจและสังคมหรือ
การออกมาตรการคุ้มครองพื้นที่ชายฝั่ง เป็นต้น
2. การฟื้นฟูเสถียรภาพชายฝั่ง (Coastal rehabiltation) คือ การดำเนินการใด ๆ เพื่อให้ชายฝั่งที่ถูกกัดเชาะไปแล้วฟื้นคืนสภาพเดิมตมรรมชติ และสมารถกลับมาให้บริการของระบบนิเวศ (Ecosystem sevice) ได้เหมือนธรรมชาติ เช่น การฟื้นฟูบำชายเลน ป้าชายหาด เพื่อสร้างเสถียรภาพให้กับชายฝั่ง การเติมทรายชายหาดเพื่อให้สามารถกระจายแรงคลื่นและลดความเสี่ยงต่อการกัดเชาะชายฝั่ง
3. การป้องกันปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal erosion protection) คือ การดำเนินกิจกรรมใด ๆ พืป้องกันพื้นที่ชายฝั่งที่มีการกัดเชาะให้มีอัตราการกัดเชาะลดลง ทั้งการดำเนินการในรูปแบบสอดคล้องหรืเลียนแบบธรรมชาติ เช่น การฟื้นฟูชายหาด การปักเสาดักตะกอนเพื่อปลูกป่าชายเลน และการดำเนินการโดยใช้รูปแบบโครงสร้างทางวิศวกรรม เช่น เขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่ง รอดักทราย เขื่อนป้องกันตลิ่ง
ริมทะเล และกำแทงปองกันคลื่นริมชายหาด เป็นต้น
4. การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal erosion solution) คือ การดำเนินกิจกรรมใด ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาการกัดเชาะชายฝั่งในบริเวณชายฝั่งที่ถูกกัดเชาะ ทั้งการใช้รูปแบบที่สอดคล้องธรรมชาติเลียนรรมชาติ หรือใช้โครงร้งทางวิศวกรรม ตลอดจนการแก้ไขที่ตันเหตุของปัญหาการกัดเชาะชายฝั่ง เช่น การรื้อถอนหรือปรับปรุงรูปแบบสิ่งก่อสร้างที่ขวางกรเคลื่อนที่ของตะกอนชายฝั่ง การปลูกป้า และการถ่ายเททราย เป็นต้น
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง
มาตรการสีขาว (Whitemeasure) หมายถึง การดำเนินงานเพื่อลดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่อจกิดขึ้นจกการกัดเซาะชายฝั่ง ได้แก่ การกำหนดพื้นที่ถอยรุ่น
มาตรการสีเขียว (Green measues) หมายถึง การดำเนินงานเพื่อรักษาเสถียรภาพชายฝั่ง โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับพื้นที่ข้างเดีย โดยเหมาะกับบริเวณที่มีชายฝั่งทะเลแบบปิด คลื่นขนาดเล็ก ชายฝั่งมีความลาดชันต่ำ ได้แก่ การปลูกป้ (บำชายเลน/ป้ชายหาต) การฟื้นฟูชายหาด (การถ่ายเททราย/การเติมทราย) การปักเสดักตะกอนเพื่อปลูกบำชายเลน (ปักไม้ไผ่/เสาคอนกรีตหรือวัสดุอื่น ๆ)
มาตรการสีเทา (Gray measues) หมายถึง การดำเนินงานเพื่อรักษาเสถียรภาพชายฝั่ง โดยใช้โครงสร้งทางวิศวกรรม โดยเหมาะกับบริวณชายฝั่ทะเลเปิด คลื่นขนาดใหญ่ ชายฝั่งมีความลาดชันสูง ได้แก่
เขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่ง รอดักทราย เขื่อนป้องกันตลิ่งริมทะเล กำแพงป้องกันคลื่นริมชายหาด การรื้อถอนโครงสร้าง หรือสิก่อสร้างที่ขวางการเคลื่อนของตะกอนชายฝั่ง