สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 18 มิถุนายน 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 6 ราย

สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 18 มิถุนายน 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 6 ราย

สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 18 มิถุนายน 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 6 ราย

วันที่ 18 มิถุนายน 2563  นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ในฐานะผู้ช่วยโฆษก ศบค. ได้รายงานว่าการพบผู้ติดเชื้อรายใหม่

ผู้ป่วยยืนยันเพิ่มขึ้น 6 ราย ตามข้อมูลดังนี้

เป็นคนไทยผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ 6 ราย อยู่ใน State Quarantine

– ซาอุดิอาระเบีย 5 ราย ทุกราย เป็นเพศชาย อาชีพนักศึกษา อายุ 23, 24, 27 ปีและ 26 ปี(2ราย) เดินทางมาจากเมืองเจดดาห์เมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 63 เข้าพักในโรงแรมในกทม. ตรวจหาเชื้อวันที่ 16 มิ.ย. ผลเชื้อ ทุกราย ไม่มีอาการ ขณะนี้อยู่ในระบบการรักษา

– อินเดีย 1 ราย รายที่ 6 เพศหญิง อายุ 26 ปี เดินทางมาเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. 63 เริ่มป่วยวันที่ 16 มิ.ย.63 มีไข้ 38.5 c และตรวจหาเชื้อ ผลพบเชื้อเข้ารับการรักษาที่ จ.ชลบุรี

โดยสรุปวันนี้ สถานการณ์ โควิด-19 วันที่ 18 มิ.ย. 2563 ยังรักษาในโรงพยาบาล 86 ราย เสียชีวิตรวม 58 ราย รวมมีผู้ป่วยสะสม 3,141 ราย

สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 18 มิถุนายน 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 6 ราย

สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 18 มิถุนายน 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 6 ราย

HATYAITODAYNEWS

อ้างอิงข้อมูลจาก : ศูนย์ข้อมูล COVID-19

ทั้งนี้ท่านสามารถติดตามรายงานสถานการณ์โควิด-19 ได้ในแบบเรียลไทม์

Next Post

ม.อ. ลงนามอนุญาตให้ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาสารสกัดโปรตีนแก่ภาคเอกชน

Thu Jun 18 , 2020
ม.อ. ลงนามอนุญาตให้ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาสารสกัดโปรตีนแก่ภาคเอกชน     มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดพิธีลงนามสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัยโครงการ กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดโปรตีนจากน้ำเลี้ยงเชื้อ lactobacilus rhamnosus และ lactobacilus casei แก่ภาคเอกชน ประกอบด้วย บริษัท พี เอส ยู นวัตวาณิชย์ บริษัท วธูธร จำกัด และบริษัท ฮายาลิต้า กรุ๊ป จำกัด ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลงานวิจัยของ ศ. ดร.รวี เถียรไพศาล และทีมวิจัย คณะทันตแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นโพรไบโอติกส์สายพันธุ์ใหม่ที่มีคุณสมบัติทางการแพทย์ มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อก่อโรค ต้านการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน และมีความปลอดภัยในการนำมาใช้ประโยชน์เพื่อป้องกันโรคในช่องปาก อีกทั้งยังพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และภาคเอกชนนำไปต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ทางพาณิชย์ ในหลากหลายรูปแบบ ศาตราจารย์.ดร.รวี เถียรไพศาล นักวิจัยคณะทันตแพยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ […]
ม.อ. ลงนามอนุญาตให้ใช้ทรัพย์สินทางปัญญาสารสกัดโปรตีนแก่ภาคเอกชน